คนส่วนใหญ่มักจะนอนดึกเนื่องจากการทำงานหรือจากเหตุผลอื่น บ่อยครั้งที่เกิดปัญหาโรคนอนไม่หลับระยะยาวจนทำให้้เป็นอันตรายต่อร่างกาย ด้าน ล่างนี้เป็น 17 อาการที่อาจพบได้กับผู้ที่ชอบนอนดึกเป็นอันตรายมากกว่าที่คุณคิดเลยทีเดียว
- อารมณ์ไม่ดี :เมื่อคนเรากำลังทำอะไรอยู่ เมื่อถูกขัดจังหวะก็จะทำให้เกิดอาการลืมง่าย เป็นสาเหตุให้อารมณ์หงุดหงิดเนื่องจากการนอนไม่พอ
- อาการปวดศีรษะ :จากการวิจัยไม่ทราบสาเหตุที่จะทำให้เกิดอาการปวดศีรษะ แต่มีคนจำนวนกว่า 36~58% ของผู้ที่นอนไม่พอ เมื่อตื่นขึ้นมาจะทำให้ เกิดอาการปวดศีรษะ
- ระบบการเรียนรู้ลดลง :ระบบความจำและการเรียนรู้ลดลงอย่างเห็นได้ชัดจากการนอนไม่เพียงพอ
- น้ำหนักขึ้น :ผู้ที่ชอบนอนดึกฮอร์โมนในร่างกายจะเปลี่ยนแปลง ทำให้ความอยากอาหารเพิ่มมากขึ้น ในเวลาเดียวกันพฤติกรรมอาจเปลี่ยนแปลงไป ด้วย
- สายตาแย่ลง :การนอนน้อยอาจเกิดอาการประสาทหลอนได้
- โรคหัวใจ :จากการวิจัยแล้วสำหรับผู้ที่นอนครบ 8 ชั่วโมงต่อวันกับผู้ที่นอน 4 ชั่วโมงอาจจะทำให้เกิิดอาการความดันสูงและผลกับการเป็นโรคหัวใจ
- อาการการตอบสนองช้า :สำหรับผู้ที่นอนไม่เพียงพออาจทำให้เกิดอาการตอบสนองช้ากว่าคนปกต
- ง่ายต่อการติดโรค :ถ้านอนไม่พอในระยะยาวทำให้ภูมิคุ้มกันลดน้อยลง ดังนั้นอาจจะติดโรคได้ง่าย
- เกิดอาการสมาธิสั้น :ถ้านอนไม่พออาจเกิดอาการสมาธิสั้น
- อาการมีกลิ่นปาก:จากผลการวิจัยถ้าไม่ได้นอนติดกันเป็นเวลา 36 ชั่วโมง อาจเป็นโรคติดอ่าง, พูดช้าและอาจมีกลิ่นปาก
- เป็นหวัดได้ง่าย :ถ้าคุณเป็นหวัดบ่อยๆ สาเหตุอาจเกิดจากการที่นอนไม่เพียงพอ ผลจากการวิจัยถ้าในสองสัปดาห์ทุกวันนอนไม่ครบ 7 ชั่วโมง มีความเสี่ยงต่อการเป็นหวัดมากกว่าผู้ที่นอนครบ 8 ชั่วโมงต่อวันถึง 3 เท่า
- .ความเสี่ยงในการขับขี่ :ถ้านอนไม่เพียงพอแล้วขับรถก็มีความเสี่ยงไม่ต่างจากผู้ที่เมาแล้วขับ
- ความอดทนต่ำ:เคยมีผู้วิจัยถ้าผู้ที่นอนไม่เพียงพอจะทำให้เกิดอาการความอดทนต่ำ
- ทำงานผิดพลาด :ต้องการการพักผ่อนและเกิดอาการง่วงอาจมีผลต่อการทำงานผิดพลาดได้สูงมา
- อาการโรคอัลไซเมอร์ :การนอนน้อยอาจทำให้เกิดอาการโรคอัลไซเมอร์ได้ เมื่อถึงวัยชราความเสี่ยงของการเกิดโรคอัลไซเมอร์จะเพิ่มขึ้น
- เกิดอาการจิตตกและหดหู่:การนอนในเวลากลางคืนเป็นผลดีต่อร่างกาย ดังนั้นการนอนไม่พออาจจะเป็นผลต่ออารมณ์
- มีความเสี่ยงถึงขั้นเสียชีวิต :สำหรับผู้ที่มีอาการนอนไม่หลับเรื่อรัง มีความเสี่ยงถึงขั้นเสียชีวิตมากกว่าคนปกติ
แสดงความคิดเห็น