ใส่บาตรให้ได้บุญมาก สะสมบุญให้ตนเอง ทำให้ถูกวิธี

0

ใส่บาตรให้ได้บุญมาก สะสมบุญให้ตนเอง ทำให้ถูกวิธี

วิธีการใส่บาตรอย่างไรให้ได้รับผลบุญที่มาก วันนี้เราได้นำวิธีการปฏิบัติในการทำบุญใส่บาตรให้ได้บุญถึงตัวเอง เป็นการสะสมบุญที่หากเรามีบุญอยู่ที่ตัวแล้ว ก็จะหนุนนำให้การดำเนินชีวิตของเรานั้นดียิ่งขึ้น มีความราบรื่น ไม่มีปัญหา ไม่มีอุปสรรคเข้ามาขวางกั้น ทำสิ่งใด ก็จะประสบผลสำเร็จในชีวิต

ในการใส่บาตรนั้น เป็นประเพณีที่หลายๆคนปฏิบัติ การใส่บาตรไม่ใช่เรื่องยาก ทำให้เกิดประโยชน์อย่างเต็มที่นั้นไม่ใช่เรื่องยาก แต่จะทำอย่างไรให้เกิด กุศลที่แรงกับตัวเรา

การทำบุญตักบาตรจะสมบูรณ์ได้ ต้องมีองค์ประกอบที่สำคัญ

ตัวเรานั้นจะต้องเตรียมใจให้พร้อมด้วย ข้อนี้ถือได้ว่าเป็นสิ่งที่สำคัญมาก บุญที่แท้จริงอยู่ที่ใจของผู้ที่ถวาย ก่อนถวาย จะต้องตั้งใจเสีย ส ล ะ อย่างแท้จริง ขณะที่ทำการถวายมีจิตใจที่เลื่อมใส ถวายด้วยความเคารพ หลังจากที่ถวาย ยินดีในทานของตัวเอง จิตใจมีความเบิกบาน

ผู้รับ คือ พระภิกษุสามเณร เป็นผู้สำรวม

สิ่งของที่นำมาถวายนั้นจะต้องได้มาด้วยวิธีที่ถูกต้อง ไม่เ บี ย ด เบียน ไม่สร้างความ เดือด ร้อนและที่สำคัญนั้นจะต้องมีความเหมาะสม แก่พระภิ ก ษุ สามเ ณ รด้วย

คำอธิษฐานที่เป็น สากลนิยมไว้ว่ า”อิ ทัง ทานัง สีละวันตานัง ภิกขูนัง นิยยาเทมิ สุทินนัง วะตะ เม ทานัง นิพพานะปัจจะโย โหตุ อะนาคะเต กาเล ฯ ข้าพเจ้าขอน้อม

ถวายทานนี้แด่พระสงฆ์ผู้มีศีล ขอท่านที่ข้าพเจ้าถวายดีแล้ว จงเป็นเหตุให้ถึงพระนิพพาน ในอนาคตกาล เบื้องหน้าโน้นเทอญ ฯ”

ในบทนี้เป็นคำอธิษฐานถึงพระสังฆรัตนะ ว่า “นัตถิ เม สะระณัง อัญญัง, สังโฆ เม สะระณัง วะรัง, เอเตนะ สังจะวัชเชนะ, โสตถิ เมโหตุ สัพพะทา ฯ ที่พึ่งอื่นของข้าพเจ้าไม่มี พระสงฆ์เป็นที่พึ่งอันประเสริฐของข้าพเจ้า ด้วยคำสั ต ย์ นี้ ขอความสวัสดีจงมีแก่ข้าพเจ้าในกาลทุกเมื่อ เทอญ ฯ”

วิธีปฏิบัติในการตักบาตร

ซึ่งโดยปกติแล้วพระภิ ก ษุ ส า มเ ณ ร จะเดินเรียงตามลำ ดับอาวุโสไปบิณฑบาต เราควรตั้งใจว่าจะทำบุญตักบาตรแก่พระภิกษุสงฆ์ สามเ ณ ร โดยไม่เจาะจงว่าจะเป็นรูปใดรูปห นึ่ ง หรืออาจจะใส่บาตรตามลำ ดับ

การปฏิบัติ

จัดเตรียมอาหารที่สะอาด ถูกสุขลักษณะ แล้วให้ใส่ภาชนะให้เรียบร้อย จะมากหรือจะน้อยก็ตามความต้องการ อาหารที่เตรียมเอาไว้ใส่บาตรควรตั้งจิตถวายด้วยความศรัทธาความเคารพความปรารถนา

ในขณะที่ใส่บาตรนั้น ควรอยู่ในอาการที่สำรวมและมีความเคารพ เมื่อตักบาตรเสร็จแล้วควรแสดงความเคารพด้วยการไหว้ หลังจากที่ได้ตักบาตรอุทิศส่วนบุญกุศลให้แก่บรรพบุรุษหรือผู้ที่ล่ ว ง ลั บ ไปแล้วเจ้าก ร ร มนาย เ ว รทั้งหลาย

คำอธิษฐาน ในการตักบาตรจะใช้ภา ษ า บาลี หรือภาษา ไ ท ยหรือใช้ทั้งสองภาษาก็ได้

“สุทินนัง วะตะเม ทานัง อาสะวักขะยาวะหัง โหตุ” ถอดความว่า “ทานของเราให้แล้วด้วยดี ขอจิตข้านี้จงสิ้นอาสวะกิเลสเทอญ”

คำกรวดน้ำ แบบย่อ “อิทัง เม ญาตินัง โหตุ” ถอดความว่า “ขอส่วนแห่งบุญกุศล จงสัมฤทธิ์ผลแก่ญาติข้าดั่งตั้งใจ

สะสมบุญให้กับตนเอง เป็นวิธีการสร้างบุญเพื่อที่จะหนุนนำให้ชีวิตดียิ่งขึ้นไป

เรียบเรียง : postsod

แสดงความคิดเห็น

ทิ้งคำตอบไว้

กรุณาใส่ความคิดเห็นของคุณ!
กรุณาใส่ชื่อของคุณที่นี่