หลังทำบุญเสร็จ เตรียมน้ำสะอาดกรวดน้ำ 10 วิธี ทำให้ส่งบุญถึง

0

หลังทำบุญเสร็จ เตรียมน้ำสะอาดกรวดน้ำ 10 วิธี ทำให้ส่งบุญถึง

หลังจากที่ทำบุญใส่บาตร ถวายสังฆทานเสร็จเป็นที่เรียบร้อยแล้ว สิ่งที่คนเรามักจะทำกันเป็นประจำ ก็คือ การกรวดน้ำ การกรวดน้ำนั้นเป็นการสะสมผลบุญที่เราได้ตั้งใจทำบุญในครั้งนี้ ส่งผลบุญที่เราได้ทำให้กับผู้ที่เราตั้งใจจะมอบส่วนบุญกุศลไปให้ ให้มารับผลบุญที่ได้ทำ

ในการกรวดน้ำนั้นหลายๆท่านได้ทำผิดวิธี ทำอย่างไม่ถูกต้องกันอยู่ วันนี้เราจึงได้นำวิธีการกรวดน้ำที่ถูกต้องมาฝากให้กับทุกท่านกัน ทำถูกก็จะทำให้บุญที่เราตั้งใจทำไปให้นั้นส่งผลบุญได้เร็ว และทำให้ตัวเราได้รับผลบุญที่ทำมาก

วิธีกรวดน้ำ โดยท่านธ ร ร มรัก ษา

กรวดน้ำใช้มือขวาจับที่ภาชนะ มือซ้ายช่วยในการประคอง แล้วรินน้ำใส่ลงไปในภาชนะที่มีไว้สำหรับการรองรับ การกรวดน้ำนั้นจะเป็นการอุทิศส่วนบุญกุศลที่เราได้ส่งไปให้กับคนที่เราตั้งใจจะทำบุญไปให้ รินน้ำให้ไหลลงไปตามพื้นดินหรือใส่ลงไปในภาชนะสำหรับการรองรับ แล้วนำไปเทบริเวณโคนต้นไม้ใหญ่ สำหรับการกรวดน้ำนั้นจะมี ด้วยกัน 2 วิธี

1 การกรวดน้ำมี 2 วิธี คือ

การกรวดน้ำเปียก เป็นการใช้น้ำเป็นสื่อ รินน้ำลงไปพร้อมกับการกล่าวอุทิศผลบุญกุศลไปด้วย

การกรวดน้ำแบบแห้ง ไม่ใช้น้ำ ใช้สิบนิ้วพนมมือ อธิษฐานและอุทิศบุญกุศลส่งไปให้

2 การอุทิศผลบุญมี 2 วิธี

อุทิศแบบเจาะจง การพูดชื่อที่เราจะให้ท่านรับ อย่างเช่น กล่าวชื่อ พ่อแม่ ญาติพี่น้อง หรือชื่อใครก็ได้ที่เราตั้งใจจะทำบุญไปให้

อุทิศแบบไม่เจาะจง การพูด กล่าวรวมกัน อย่างเช่นญาติทั้งหลาย เจ้าก ร ร มนายเ ว รทั้งหลายเป็นต้น

3 กรวดน้ำใช้น้ำเปล่าสะอาด

น้ำที่นำมาใช้สำหรับการกรวดน้ำในทุกๆครั้งนั้น จะต้องเป็นน้ำเปล่าสะอาดที่ไม่มีกลิ่น ไม่มีสี กรวดน้ำเสร็จแล้วให้รินน้ำใส่ลงไปในที่สะอาด

4 ใช้น้ำเป็นสื่อ ดินเป็นพยาน

การกรวดน้ำนั้น ใช้น้ำเป็นสื่อและใช้แผ่นดินเป็นพยาน ให้ได้รับรู้ ในการอุทิศส่วนบุญกุศลในครั้งนี้ที่ตัวเรานั้นได้ตั้งใจทำ

5 กรวดน้ำ ในตอนเวลาไหน

ทำบุญเสร็จ ควรมีการกรวดน้ำในขณะที่พระท่านได้กล่าวอนุโมทนา หรือหลังจากที่เราได้ทำบุญเสร็จ หากไม่สะดวกสามารถทำได้ในภายหลัง แต่แนะนำกันว่าให้ทำในขณะนั้นจะดี กว่า เพราะในบางทีที่เรากลับไปถึงบ้ า นก็เผลอลืมที่จะกรวดน้ำ ทำให้บุญที่เราตั้งใจทำเขาไม่ได้รับ ผลบุญในครั้งนี้

6 รินน้ำตอนไหน

เริ่มรินน้ำพร้อมกับตั้งใจอุทิศ ในขณะที่พระผู้นำเริ่มสวดว่า “ยะถาวาริวะหาปูรา” และรินให้หมดเมือ่พระว่ามาถึง “มะณิโชติระโส ยะถา” พอพระทั้งหมดรับพร้อมกันว่า

“สัพพีติโย วิวัชชันตุ” เราก็พนมมือรับพรท่านไปจนจบ จึงจะถือว่าถูกต้อง

7 ถ้ายังกล่าวบทกรวดน้ำไม่เสร็จ จะทำอย่างไร

บทกรวดน้ำที่สั้นๆ หรือใช้บทกรวดน้ำย่อ “อิทัง โน ญาตีนังไหตุ สุขิตา โหนตุ ญาตะโย ขออุทิศส่วนบุญนี้จงสำเร็จแก่ (พูด กล่าวชื่อผู้ล่ ว ง ลั บ)และญาติทั้งหลายของข้าพเจ้า ขอญาติทั้งหลายจงเป็นสุขเถิด”

หรือจะใช้แต่ภาษาไ ท ยอย่างเดียวก็ได้ว่า “ขออุทิศส่วนบุญกุศลที่ข้าพเจ้าได้บำเพ็ญแล้วนี้ จงสำเร็จแก่ พ่อ แม่ ญาติ ครูอาจารย์ ผู้มีพระคุณเจ้าก ร ร มนายเ ว ร และส ร ร พสัตว์ทั้งหลาย ขอจงได้รับส่วนบุญกุศลครั้งนี้โดยเร็วพลัน และโดยทั่วถึงกันเทอญ” ส่วนบทยาวๆ เราควรเอาไว้กรวดส่วนตัว หรือกรวดในขณะทำวัตรสวดมนต์รวมกันก็ได้

8 ไม่เกาะกลุ่ม

น้ำที่อยู่ในถ้วยภาชนะ ให้เทไหลลงมาเป็นสายไม่ให้ขาด และไม่ควรใช้วิธีในการเกาะกลุ่ม หากได้เป็นพิธีงานใหญ่ต่างๆ ถ้าเป็นประธานรินน้ำเพียงคนเดียวหรือเป็นคู่น อกจากนั้นก็ให้พนมมือและตั้งใจอุทิศส่วนบุญกุศล

9 การทำบุญและอุทิศส่วนบุญ

จิตใจไม่ฟุ้ง ซ่ า น มีความเลื่อม ใ สบุ ญกุศลและการอุทิศส่วนบุญกุศลนั้นย่อมมีอานิสงส์ที่มาก ผลบุญที่เราทำไปให้หากไม่มีใครได้รับบุญที่เราได้ทำ ก็จะยังคงเป็นบุญของเราอยู่อย่างครบถ้วน

10 บุญเป็นของ ก า ย สิทธิ์

ยิ่งได้ให้ยิ่งมาก ยิ่งตระหนี่ยิ่งน้อย ยิ่งอุทิศให้คนอื่นหมดเลย ทำให้ตัวเราก็ยิ่งจะได้บุญหมดเลย

ขอบคุณข้อมูลจาก : shar e-si

แสดงความคิดเห็น

ทิ้งคำตอบไว้

กรุณาใส่ความคิดเห็นของคุณ!
กรุณาใส่ชื่อของคุณที่นี่