ฝากเตือนเอาไว้ ขับรถทุกวัน ต้องรู้อย่างยิ่ง เข้ารถเกียร์ P ติดไฟแดง

0

ฝากเตือนเอาไว้ ขับรถทุกวัน ต้องรู้อย่างยิ่ง เข้ารถเกียร์ P ติดไฟแดง

หลายคนในปัจจุบันปล่อยปละละเลยเกี่ยวกับเรื่องที่อยู่ใกล้ๆตัวเรา วันนี้เราจะมาพูดถึงสิ่งที่เกิดขึ้นบนท้องถนน และในปัจจุบันนี้ได้เกิดขึ้นมาก ซึ่งเป็นพฤติกร รมในการใช้รถใช้ถนน

ที่สำคัญคนขับรถบางคนยังไม่รู้จักการขับรถการใช้รถที่ถูกวิธี จึงทำให้เกิดเหตุขึ้นบ่อย วันนี้เราจะพาทุกๆท่านมาดูใช้รถใช้ถนนให้ถูกต้อง เพราะหลายคนกำลังเข้าใจผิดมาโดยตลอด

1 รถใหญ่ผิดเสมอ

หลายคนยังคงมีความคิดที่ว่า หากรถมอเตอร์ไซค์ชนกับรถเก๋ง รถเก๋งจะเป็นฝ่ายผิดเสมอ เพราะว่าเป็นรถใหญ่ ซึ่งแท้ที่จริงแล้วไม่มีกฎหมายใดๆมาลองรับหรือบัญญัติเอาไว้แบบนั้น เพราะเมื่อเกิดเหตุขึ้นมา การที่จะตัดสินว่าฝ่ายใดเป็นฝ่ายผิดนั้น จะต้องอยู่บนพื้นฐานว่าฝ่ายใดประมาท ฝ่ายใดผิฎจราจร และในปัจจุบันมีการติดตั้งกล้องหน้ารถเพื่อที่จะเอาไว้เป็นพยานหลักฐานชั้นดีได้

2 จอดรถหันหน้าออก

การจอดรถในที่สาธารณะ หรือจอดในนก็ตามควรที่จะหันหน้ารถออกจะดีที่สุด ช่วยป้องกันโจรที่มาดักจี้คุณได้ นอกจากประโยชน์ในเรื่องนี้แล้วยังช่วยอำนวยความสะดวกเวลาที่จะเลี้ยวซ้ายเลี้ยวขวาขณะออกรถ โดยการเปิดไฟเลี้ยวในทิศทางที่ถูกต้อง และยังเป็นประโยชน์ต่อการที่รถเราแบตเตอรี่หมด สามารถพ่วงแบตเตอรี่ทางด้านหน้าได้สะดวกมากยิ่งขึ้น บทความเขียนโดย Postsod ห้ามคัดลอก

3 วอร์มเครื่องก่อนออกเดินทาง

จะช่วยให้เราสามารถประหยัดน้ำมันได้จริง การวอร์มเครื่องยนต์สิ่งเหล่านี้หลายคนอาจจะไม่ทราบมาก่อน เมื่อคืนยนต์ของเรามีอุณหภูมิการทำงานอยู่ในช่วงระหว่าง 58 ถึง 92 องศาเซลเซียส อุณหภูมินี้จะถูกกำหนดโดยหม้อน้ำ ซึ่งจะนำพาความร้อนจากห้องเครื่องออกมา เป็นเหตุที่ว่าทำไมการแข่งขันมีการเบิ้ลเครื่อง เพื่อให้ได้ความร้อนที่เหมาะสมก่อนการลงแข่ง และยังช่วยประหยัดน้ำมันได้ในระดับหด้วย

4 เลี้ยวซ้ายนตลอด

การจะเลี้ยวไปทางซ้ายไม่ใช่ว่าเราจะสามารถนตลอดได้ทุกแยกถนน หลายคนกำลังเกิารเข้าใจผิดว่าเลี้ยวซ้ายจะต้องนตลอด ตามกฎหมายมีการระบุเอาไว้ว่า จะสามารถเลี้ยวซ้ายนตลอดได้ก็ต่อเมื่อมีป้ายกำกับเอาไว้ในบริเวณนั้น และควรหยุดรอรถที่มาจากฝั่งตรงข้ามให้ดีก่อนที่จะเลี้ยว หากไม่มีป้ายในบริเวณนั้นควรที่จะรอสัญญาณไฟจราจรเลี้ยวซ้าย หรือรอให้ฝั่งตรงข้ามเป็นไฟแดงเสียก่อนแล้วจึงเลี้ยวนไปได้

5 ขับรถเร็ววิ่งขวาได้

พฤติกร รมเช่นนี้การขับรถเร็วๆแช่ขวาเป็นเวลานาน หรือขับ 90 แล้วแช่ขวาตลอดเส้นทางเป็นสิ่งที่ไม่ควรทำเป็นอย่างยิ่ง ถึงแม้ว่าจะเป็นกฎหมายกำหนดเอาไว้ที่ 90 ก็ตาม การวิ่งขวาเป็นสิ่งที่เอาไว้แซงรถข้างหน้าแล้วทำการเข้าซ้าย มีไว้สำหรับแสงเท่านั้น ถึงแม้ว่าเราจะวิ่งมาเร็วเพียงใ็ตาม หากรถคันหลังเร็วกว่าเราก็ควรที่จะหลบไปทางซ้าย

6 ใช้แตรให้น้อยที่สุด

แตรรถเป็นส่วนประกอบห ซึ่งในทางสังคมสามารถบ่งถึงมารยาทได้เลย มีเอาไว้ส่งเสียงเตือนเพื่อนร่วมทางหรือให้สัญญาณในกรณีต่างๆเท่านั้น ไม่ได้ช่วยให้คุณดูดีขึ้นในสายตาผู้ร่วมทาง มันสามารถช่วยป้องกันเหตุต่างๆได้มากกว่าที่คุณคิด ไม่ได้มีเอาไว้เพื่อใช้ด่าคนเท่านั้น

7 เปิดไฟฉุกเฉินตอนข้ามแยก

หลายคนเปิดไฟฉุกเฉินเพื่อที่จะข้ามไปฝั่งตรงข้าม ในกรณีที่ไม่สามารถเปิดไฟเลี้ยวซ้ายหรือไฟขวาก็ได้ จะก่อให้เกิดความสับสนระหว่างเพื่อนร่วมทางทางด้านซ้ายและขวา เขาอาจจะสับสนอยู่ว่าคุณจะเลี้ยวซ้ายหรือเลี้ยวขวากันแน่เพราะไม่เห็นกฝั่งนึง การทำพฤติกร รมเช่นนี้ไม่เหมาะสมเป็นอย่างยิ่งเพราะอาจจะทำให้เกิดเหตุให้ง่าย หากต้องการที่จะไปทิศทางตรงกันข้ามควรที่จะรอให้รถน้อยที่สุด แล้วจึงขับรถข้ามไป

8 ถุงลมนิรภัยไม่ทำงาน ถ้าไม่คาดเข็มขัด

มีความเป็นไปได้สูงถึง 50 / 50 ทีเรื่องนี้จะเป็นเรื่องจริงสำหรับรถยนต์บางผู้ผลิตเท่านั้น เนื่องจากการใช้ถุงลมนิรภัยให้มีประสิทธิภาพ และช่วยการซับแรงจากการกระแทกให้ได้มากที่สุด ควรที่จะคาดเข็มขัดนิรภัย ซึ่งบางผู้ผลิตหากไม่ทำการคาดเข็มขัดนิรภัยถุงลมจะไม่สามารถสนับสนุนได้อย่างเต็มที่นั่นเอง

9 เข้าเกียร์ P เมื่อติดไฟแดง

หากคุณเข้าเกียร์ P ในขณะที่ติดไฟแดง หากเกิดเหตุสุดวิสัยอย่างเช่นมีรถชนทางด้านท้าย ระบบการส่งกำลังขับเครื่องจะได้รับความเสียหายเป็นอย่างยิ่ง เนื่องจากเกียร์ P จะมีการล็อคฟันเฟืองขับเคลื่อนทำให้เกียร์ไม่ทำงาน เมื่อไหร่ก็ตามที่ได้รับการกระทบกระเทือนอย่างแรงก็จะทำให้รถของคุณเสียหายได้ ซึ่งผิับการเข้าเกียร์ D แล้วทำการเหยียบเบรคเอาไว้ หรือทำการผลักเกียร์ไปที่ตำแหน่ง n รถแทบจะไม่ได้รับความเสียหายจากเกียร์เลย

การใช้รถใช้ถนน ควรที่จะรู้ทั้ง 9 ข้อนี้เอาไว้ด้วย เพื่อที่จะทำให้ตัวเองนั้นไม่เป็นภัยต่อผู้อื่น และควรที่จะระมัดระวังด้วยตัวเองรู้จักการเคารพวินัยจราจร ให้เกียรติเพื่อนร่วมทาง จะได้ไม่มีปัญหาไม่มีเรื่องกัน ฝากเตือนเอาไว้

เขียน / เรียบเรียงโดย : Postsod

ไม่อนุญาตให้คัดลอก ทุกกรณี บทความมีลิขสิทธิ์

แสดงความคิดเห็น

ทิ้งคำตอบไว้

กรุณาใส่ความคิดเห็นของคุณ!
กรุณาใส่ชื่อของคุณที่นี่